ประวัติเทศบาล

ประวัติเทศบาล

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

1.   สภาพทั่วไป

    1. 1.1 )  ที่ตั้ง

เทศบาลตำบลดอกไม้   ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอำเภอสุวรรณภูมิห่างจากอำเภอ ประมาณ 7  กิโลเมตร  ระยะห่างจากตัวจังหวัดประมาณ  52 กิโลเมตร การเดินทางไปอำเภอและจังหวัดมีความสะดวกสบายรวดเร็ว มีถนนลาดยางตลอดเส้นทาง

      1.2 )  เนื้อที่

เทศบาลตำบลดอกไม้  มีเนื้อที่ประมาณ 49  ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ  30,625 ไร่

      1.3) ภูมิประเทศ

      เทศบาลตำบลดอกไม้  มีลักษณะภูมิประเทศเป็นพื้นที่ราบมีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้

ทิศเหนือ จดเขตตำบล           นาใหญ่

ทิศใต้ จดเขตตำบล           หินกอง

ทิศตะวันออก  จดเขตตำบล             สระคูและหัวโทน

ทิศตะวันตก จดเขตตำบล             หินกอง

     1.4 )  จำนวนหมู่บ้าน  14  หมู่

จำนวนหมู่บ้านในเขต เทศบาลตำบลเต็ม  ทั้งหมู่บ้าน  14  หมู่บ้าน  ได้แก่

หมู่ที่ 1     บ้านดอกไม้ หมู่ที่ 8     บ้านเปลือย

หมู่ที่ 2     บ้านไร่ หมู่ที่ 9     บ้านโคก

หมู่ที่ 3     บ้านหมอตา หมู่ที่ 10     บ้านค้อ

หมู่ที่ 4     บ้านภูงา หมู่ที่ 11     บ้านหมอตา

หมู่ที่ 5     บ้านยางเลิง หมู่ที่ 12     บ้านยางเลิง

หมู่ที่ 6     บ้านยางเลิง หมู่ที่ 13     บ้านดอกไม้

หมู่ที่ 7     บ้านโคกทับเก่า หมู่ที่ 14     บ้านยางเลิง

       1.5 ) ประชากร

ประชากรทั้งสิ้น   6,160   มีความหนาแน่น เฉลี่ย  125.71  คน/ตารางกิโลเมตร

หมู่ที่

บ้าน

จำนวน(ครัวเรือน)

จำนวน

ประชากร (คน)

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

ดอกไม้

ไร่

หมอตา

ภูงา

ยางเลิง

ยางเลิง

โคกทับเก่า

เปลือย

โคก

ค้อ

หมอตา

ยางเลิง

ดอกไม้

ยางเลิง

143

110

175

127

156

154

49

55

96

67

163

115

157

35

500

471

841

473

533

544

191

219

348

301

719

334

546

140

รวม

1,602

6,160

         * ข้อมูล ณ เดือนพฤษภาคม   2557

2.  สภาพทางเศรษฐกิจ

      2.1) อาชีพ

ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตรกรรม  ได้แก่  การทำนา รองลงมาได้แก่   อาชีพรับจ้างและค้าขาย

     2.2 ) หน่วยธุรกิจในเขตเทศบาลตำบล

ปั้มน้ำมัน                4 แห่ง

ปั๊มแก๊ส( L P G) 3 แห่ง

โรงสี 23 แห่ง

3.  สภาพทางสังคม

      3.1)  การศึกษา

โรงเรียนประถมศึกษา   5 แห่ง

ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน             14 แห่ง

ศูนย์การเรียนชุมชน   1 แห่ง

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก   3 แห่ง

ศูนย์บริการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร   1 แห่ง

     3.2) สถาบันและองค์การทางศาสนา

วัด/สำนักสงฆ์       13 แห่ง

       3.3) สาธารณสุข

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล     1 แห่ง

สถานพยาบาลเอกชน               2 แห่ง

อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ  100

      3.4)  ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

หน่วยบริการประชาชน ตำรวจทางหลวง               1 แห่ง

4.  การบริการพื้นฐาน

     4.1) การคมนาคม

เทศบาลตำบลดอกไม้  มีถนนติดต่อระหว่างหมู่บ้าน จำนวน  6  สาย  และถนนลาดยาง    จำนวน  2  สาย  สภาพทางคมนาคมส่วนใหญ่เป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก

      4.2)  การโทรคมนาคม

ไม่มี

       4.3) การไฟฟ้า

เทศบาลตำบลดอกไม้  มีไฟฟ้าเข้าถึง  14  หมู่บ้านและประชากร

ที่ใช้ไฟฟ้ามีจำนวน   6,160  คน

      4)  แหล่งน้ำธรรมชาติ

ลำน้ำ ลำห้วย จำนวน     3 แห่ง

บึง หนองและอื่นๆ จำนวน    19 แห่ง

      5) แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น

ฝาย จำนวน   7 แห่ง

บ่อน้ำตื้น จำนวน 34 แห่ง

บ่อโยก จำนวน 39 แห่ง

ประปาหมู่บ้าน จำนวน             12 แห่ง

5.  ข้อมูลอื่นๆ

      5.1) ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่

เทศบาลตำบลดอกไม้  มีลำน้ำเสียวไหลผ่านแหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น เลิงขี้ตุ่น และลำเสียวน้อย

        5.2)  มวลชนจัดตั้ง

ไทยอาสาป้องกันชาติ 1 รุ่น   70 คน

มวลชนสัมพันธ์ 1 รุ่น 170 คน

อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน 1 รุ่น     40     คน

6.  ข้อมูลเกี่ยวกับศักยภาพของตำบล

ศักยภาพ องค์ประกอบบุคลากรในการพัฒนาตำบล

ก. ศักยภาพของเทศบาลตำบลดอกไม้

6.1) จำนวนบุคลากร  มีทั้งสิ้น  จำนวน    40   คน   

    แบ่งส่วนราชการภายในเทศบาลตำบลดอกไม้ ออกเป็น  1 สำนัก กับ 3 กอง ดังนี้

(1)  สำนักปลัด จำนวน   17  คน ดังนี้

ปลัดเทศบาลตำบล  ระดับ 8

รองปลัดเทศบาลตำบล  ระดับ 6

หัวหน้าสำนักปลัด ระดับ 6

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับ 6ว

นิติกร ระดับ 7ว

บุคลากร ระดับ 5

นักวิชาการเกษตร ระดับ 6ว

นักพัฒนาชุมชน ระดับ 6ว

                                  9.เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ระดับ 5

                                  10.เจ้าพนักงานธุรการ ระดับ 2

                                  11.ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

12. พนักงานขับเครื่องกลขนาดเบา

13. พนักงานดับเพลิง

14. ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน

15. ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่เกษตร

16. ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่สันทนาการ

17. ผู้ช่วยเจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน

   (2)  กองคลัง  จำนวน   8   คน ดังนี้

    1. 1. หัวหน้ากองคลัง       ระดับ 7
    2. 2. เจ้าพนักงานพัสดุ              ระดับ 4
    3. 3. นักวิชาการการเงินและบัญชี             ระดับ 4

4. นักวิชาการจัดเก็บรายได้                ระดับ 5

5.  ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี

6.  ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล

7. ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่การคลัง

8. ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ

(3)  กองช่าง  จำนวน   5   คน ดังนี้

    1. นายช่างโยธา       ระดับ 4

    2. ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ

    3. ผู้ช่วยช่างไฟฟ้า

    4. ผู้ช่วยช่างเขียนแบบ

    5. ผู้ช่วยช่างโยธา

                                 (4)  กองการศึกษา  จำนวน   11   คน ดังนี้

                                   1. หัวหน้ากองการศึกษา

                                   2. นักวิชาการศึกษา

                                  3. ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่สันทนาการ

4. ครูผู้ดูแลเด็ก

5.ครูผู้ดูแลเด็ก

6.ครูผู้ดูแลเด็ก

7.ครูผู้ดูแลเด็ก

8.ผู้ดูแลเด็ก

9.ผู้ดูแลเด็ก

10.ผู้ดูแลเด็ก

11.ผู้ดูแลเด็ก

6.2)  ระดับการศึกษาของบุคลากร

ระดับมัธยมศึกษา     จำนวน    2    คน

ระดับปวช./ปวส.     จำนวน    8    คน

ระดับปริญญาตรี        จำนวน   22   คน

ระดับปริญญาโท         จำนวน     9    คน

6.3 ) รายได้ของเทศบาลตำบล

                   ประจำปีงบประมาณ   2556   แยกเป็น

        รายได้ที่เทศบาลตำบลจัดเก็บเอง                            280,000.41    บาท

        รายได้ที่ส่วนราชการต่าง ๆ จัดเก็บให้   15,281,572.88   บาท

      รายได้อื่น ๆ     380,301.90 บาท

          เงินอุดหนุนจากรัฐบาล   7,289,000        บาท

รวมทั้งสิ้น            23,230,875.19   บาท

      * ข้อมูล    เดือนธันวาคม  2556

ข. ศักยภาพของชุมชนและพื้นที่

            การรวมกลุ่มของประชาชน

อำนวยกลุ่มทุกประเภท จำนวน   45 กลุ่ม

แยกประเภทกลุ่ม

กลุ่มอาชีพ จำนวน   37 กลุ่ม

กลุ่มออมทรัพย์ จำนวน     8   กลุ่ม

                      จุดเด่นของพื้นที่ (ที่เอื้อต่อการพัฒนาตำบล)

  เทศบาลตำบลดอกไม้   ตั้งอยู่ในเขตของชุมชนซึ่งประกอบด้วยหน่วยราชการต่าง ๆ เช่น โรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล  หน่วยบริการประชาชน ตำรวจทางหลวง มีลำน้ำเสียวไหลผ่านแหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น เลิงขี้ตุ่น และวังอีซิว    มีเส้นทางคมนาคมอันเป็นทางหลวงแผ่นดิน จำนวน 2  สาย  ได้แก่  สายสุวรรณภูมิ – ร้อยเอ็ด และสายสุวรรณภูมิ – เกษตรวิสัย     มีแนวโน้มจะเกิดชุมชนเมืองในอนาคต   ซึ่งในปัจจุบันมีการก่อสร้างอาคารพาณิชย์  ประกอบกิจการค้า  การลงทุนบ้างแล้ว อีกทั้งยังมีสถานบริการน้ำมันขนาดใหญ่/กลาง  จำนวน  4  แห่งอันเป็นแหล่งจ้างแรงงานในท้องถิ่น  ทำให้ประชาชนมีรายได้และมีงานทำอีกทางหนึ่ง  บริเวณดังกล่าวจึงเหมาะแก่การค้า การลงทุนเป็นอย่างดี